อำนาจเจริญ “ณรงค์ เทพเสนา”ผู้ว่าป้ายแดงถอดด้าม เปิดใจพร้อมพัฒนายกระดับคุณภาพชีวิตประชาชน เน้นบูรณาการทำงานเป็นทีมในแต่ละมิติ นายณรงค์ เทพเสนา ตำแหน่ง ผู้ว่าราชการจังหวัดอำนาจเจริญ(บริหาร ระดับสูง)เปิดเผยว่า วันบรรจุเข้ารับรับราชการ 1กุมภาพันธ์ 2534 การศึกษา ระดับมัธยมศึกษาโรงเรียนชลราษฎรอำรุง จ.ชลบุรี รัฐศาสตรบัณฑิต มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ นิติศาสตรบัณฑิต มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช รัฐศาสตรมหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ประวัติการรับราชการ 1. 1 กุมภาพันธ์ 2534 บุคลากร 3 กองงานคณะกรรมการตุลาการ กระทรวงยุติธรรม 2.1 มิถุนายน 2534 ปลัดอำเภอโนนสะอาด จ.อุดรธานี 3.4 กรกฎาคม 2537 เลขานุการรองผู้ว่าราชการจังหวัดหน องคาย 4. 10 กุมภาพันธ์ 2537 ฝ่ายบรรจุและแต่งตั้ง กองการเจ้าหน้าที่ กรมการปกครอง 5. 24 มกราคม 2543 ผู้ช่วยจ่าจังหวัดชลบุรี 6. 1 ธันวาคม 2546 หัวหน้ากลุ่มอาวุธปืนและวัตถุระเบิด สำนักการสอบสวนและนิติการ กรมการปกครอง 7. 6 กันยายน 2547 หัวหน้าฝ่ายบริหารทั่วไป สำนักกิจการความมั่นคงภายใน กรมการปกครอง 9. 26 พฤศจิกายน 2550 หัวหน้ากลุ่มพัฒนาระบบบริหาร กรมการปกครอง (กพร.ปค.) 9. 18 พฤษภาคม 2554 หัวหน้ากลุ่มงานช่วยอำนวยการ สำนักงานเลขานุการกรม กรมการปกครอง 10. 21 พฤษภาคม 2555 นายอำเภอเกาะสีชัง จังหวัดชลบรี (อำนวยการ ระดับต้น) 11. 26 กันยายน 2557 นายอำเภอบ่อทอง จังหวัดชลบุรี (อำนวยการ ระดับสูง) 12. 9 พฤศจิกายน 2558 นายอำเภอพนัสนิคม จังหวัดชลบุรี 13. 10 พฤศจิกายน ปลัดจังหวัดตราด 2563 14. 31 มกราคม 2565 รองผู้ว่าราชการจังหวัดตร าด 15. 25 พฤศจิกายน 2567 รองผู้ว่าราชการจังหวัดอำ นาจเจริญ 16. 26 ธันวาคม 2567 ผู้ว่าราชการจังหวัดอำนาจ เจริญ ประวัติการศึกษาอบรม 1. พ.ศ. 2537 ปลัดอำเภอรุ่นที่ 119 วิทยาลัยการุปกครอง 2. พ.ศ. 2537การสืบสวนสอบสวนคดีอาญา รุ่นที่ 2 วิทยาลัยการปกครอง 3. พ.ศ. 2564 นายอำเภอ รุ่นที่ 55 4. พ.ศ. 2555 วิทยาลัยเสน่าธิการทหาร รุ่นที่ 49 สถาบันวิชาการป้องกันประเทศ (11 เดือน) 5. พ.ศ. 2554 นายอำเภอ (ทบทวน) รุ่นที่ 15 วิทยาลัยการปกครอง 6. พ.ศ. 2557 นักปกครองระดับสูง (นปส.) รุ่นที่ 63 สถาบันดำรงราชานุภาพ 7. พ.ศ. 2565 นายณรงค์ เทพเสนา ผู้ว่าราชการจังหวัดอำนาจเจริญ ป้ายแดงกล่าวด้วยว่า ตนมาอยู่ที่จังวัดอำนาจเจริญลำดับแรกๆที่จะพัฒนาก็มีการ พัฒนาการคมนาคมและโลจิสติกส์ • ปรับปรุงถนนเชื่อมโยงระหว่างอำเภอและหมู่บ้าน เพื่ออำนวยความสะดวกในการขนส่งสินค้าและการเดินทาง • ส่งเสริมการพัฒนาศูนย์กระจายสินค้าในภูมิภาค • พัฒนาดิจิทัลและการสื่อสาร: • ติดตั้งอินเทอร์เน็ตความเร็วสูงในพื้นที่ชนบท เพื่อส่งเสริมเศรษฐกิจดิจิทัล • ส่งเสริมการใช้เทคโนโลยีในเกษตรกรรม (Smart Farming) 5. การพัฒนาการบริหารจัดการภาครัฐและการมีส่วนร่วมของประชาชน • การบริหารงานแบบบูรณาการ: • ส่งเสริมการทำงานร่วมกันระหว่างหน่วยงานรัฐ องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น และภาคเอกชน • การมีส่วนร่วมของชุมชน: • สนับสนุนการมีส่วนร่วมของประชาชนในกระบวนการพัฒนา ผ่านเวทีประชาคมหรือโครงการชุมชนพึ่งตนเอง • ส่งเสริมความโปร่งใสและการตรวจสอบ: • ใช้ระบบเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อให้การดำเนินงานของภาครัฐโปร่งใสมากขึ้น การพัฒนาจังหวัดอำนาจเจริญควรเน้นการใช้ทรัพยากรในพื้นที่อย่างคุ้มค่า สอดคล้องกับอัตลักษณ์ท้องถิ่น และตอบโจทย์ความต้องการของประชาชนอย่างยั่งยืน โดยเฉพาะในเรื่องปัจจัยพื้นฐาน ต้องมีพร้อมทุกครัวเรือน “เราจะไม่ทิ้งใครไว้ข้างหลัง” เราจะเดินหน้าพัฒนาเมืองอำนาจจริญให้เป็นเมืองที่หน้าอยู่ เราจะต้องร่วมมือร่วมแรงกันพัฒนาบ้านเมืองของเราให้เจริญๆยิ่งๆขึ้นไป ให้สมกับชื่อว่า จังหวัดอำนาจเจริญครับผม ภาพ-ข่าว/นายทิพกร หวานอ่อน ผู้สื่อข่าวประจำจังหวัดอำนาจเจริญ รายงาน 087- 958 -0670